การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (1)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (2)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (3)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (4)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (5)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (6)
การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) (7)

ขาย การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) ราคาที่ดีที่สุด

0
การให้คะแนน
฿70
10% OFF
฿63
ยี่ห้อ
Success Media(ซัคเซส มีเดีย)
เรือจาก
จังหวัดนนทบุรี

รายละเอียดสินค้า

2204-2107 การเขียนโปรแกรมโดยใช้เครื่องมือกราฟิ​กโหมด (Visual Basic 2013-2017) รหัสวิชา2204-2107 ผู้เขียนซัคเซส มีเดีย ผ่านตรวจจาก สอศ. ลำดับที่นายปรีติ พัวนุกุลนนท์ (หนังสือเรียน Success Smart Media เพียงเปิดแอพสแกน QR Code ก็สามารถดูวิดีโอประกอบการเรียนได้ทันที) สารบัญ บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์ และขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1.1 โปรแกรมภาษา 1.2 ประเภทของโปรแกรม 1.3 ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับพัฒนาโปรแกรม 1.4 ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม 1.5 การพัฒนาโปรแกรมอย่างต่อเนื่อง กิจกรรมท้ายบทที่ บทที่ 2 การเขียน Algorithm 2.1 2.2 การเขียนผังงาน (Flowchart) 2.3 รูปแบบการจัดภาพของผังงาน บทที่ 3 เริ่มตŒนใชŒงานโปรแกรม Visual Studio 3.1 เตรียมพร้อมก่อนติดตั้ง 3.2 การติดตั้ง กิจกรรมท้ายบทที่ 3 บทที่ 4 การออกแบบหน้าจอของโปรแกรม 4.1 การออกแบบหน้าจอให้ตรงวัตถุประสงค์ 4.2 ออกแบบส่วนประกอบของหน้าจอด้วยฟอร์ม และคอนโทรลต่างๆ กิจกรรมท้ายบทที่ 4 บทที่ 5 หลักการเขียนโปรแกรมด้วย Visual Basic.NET 5.1 เริ่มต้นเขียนโค้ดใน Visual Studio 5.2 รู้จักและใช้งานตัวแปร (Variables) 5.3 ค่าคงที่ (Constance) 5.4 ชนิดของข้อมูล (Data Types) 5.5 รู้จักกับตัวดำเนินการ (Operator) กิจกรรมท้ายบทที่ 5 บทที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงาน 6.1 การเขียนโปรแกรมแบบเรียงลำดับ 6.2 การเขียนโปรแกรมแบบเลือกทำทางเดียวด้วย If-Then 6.3 การเขียนโปรแกรมแบบเลือกทำอย่างใดอย่างหนึ่งด้วย If-Then-Else 6.4 การเขียนโปรแกรมแบบเลือกทำซ้อนการเลือกทำแบบ Nested If 6.5 การเขียนโปรแกรมแบบเลือกทำหลายตัวเลือกด้วย Select-Case 6.6 การเขียนโปรแกรมแบบวนซํ้าด้วย For-Next 6.7 การเขียนโปรแกรมแบบวนซํ้าด้วย While-Loop และ Do-Loop 6.8 การเขียนโปรแกรมแบบวนซํ้าด้วย Do Until-Loop และ Do-Loop Until กิจกรรมท้ายบทที่ 6 บทที่ 7 รู้จักตัวแปรแบบอาร์เรย์ และสตริง 7.1 รู้จักกับตัวแปรอาร์เรย์ (Arrays) 7.2 รู้จักกับมิติของตัวแปรแบบอาร์เรย์ 7.3 การใช้คลาส เมธอด หรือฟังก์ชัน ในการจัดการอาร์เรย์ 7.4 การจัดการข้อมูลแบบสตริง (String) กิจกรรมท้ายบทที่ 7 บทที่ 8 การใช้งานโปรแกรมย่อยและขอบเขตของตัวแปร 8.1 ประเภทของโปรแกรมย่อย 8.2 ขอบเขตการใช้งานตัวแปร กิจกรรมท้ายบทที่ 8 บทที่ 9 เข้าใจหลักการเขียนโปรแกรมแบบ OOP 9.1 เข้าใจความหมายและคุณสมบัติของคลาส และออบเจ็กต์ 9.2 การถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสสู่ออบเจ็กต์ 9.3 รู้จักส่วนประกอบคอนโทรลในมุมมองแบบคลาส และออบเจ็กต์ 9.4 การสร้างคลาสขึ้นมาใช้งาน กิจกรรมท้ายบทที่ 9 บทที่ 10 การทำงานกับไฟล์ข้อมูล 10.1 พื้นฐานการเขียน และการอ่านเท็กซ์ไฟล์ 10.2 พื้นฐานการเขียน และการอ่านเท็กซ์ไฟล์ 10.3 การทำงานร่วมกับไฟล์ CVS กิจกรรมท้ายบทที่ 10 บทที่ 11 โปรแกรมเสริมทักษะ 11.1 โปรแกรมป้องกันความปิดพลาดในการป้อนข้อมูล 11.2 โปรแกรมทำบัญชีรายรับ-รายจ่าย เวอร์ชัน 1 11.3 การแสดงตัวเลขในรูปแบบต่างๆ กิจกรรมมท้ายบทที่ 11 บทที่ 12 ตัวอย่างโปรแกรมสำหรับธุรกิจ 12.1 สรุปขอบเขต และความสามารถของโปรแกรมตามวัตถุประสงค์การใช้งาน 12.2 เขียนผังงานและซูโดโค้ด 12.3 เขียนโปรแกรม กิจกรรมท้ายบทที่ 12 (สภาพ 99.99%)

ข้อมูลจำเพาะของผลิตภัณฑ์

ภาษาไทย
นำเข้า / ในประเทศในประเทศ

จากร้านเดียวกัน

รายการที่เกี่ยวข้อง

คุณอาจชอบ