Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา (12-14) (1)
Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา (12-14) (2)
Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา (12-14) (3)
Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา (12-14) (4)

ขาย Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา (12-14) ราคาที่ดีที่สุด

0
การให้คะแนน
2
ขายแล้ว
฿240
เรือจาก
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ขนาด D1
ขนาด D30L35 6mm
ขนาด D30L35 7mm
ขนาด D30L35 8mm
ขนาด D30L35 9mm
ขนาด D30L35 10mm
ขนาด D30L35 11 mm
ขนาด D30L35 12mm
ขนาด D30L35 14mm
ขนาด D2
ขนาด D30L35 12mm
ขนาด D30L35 14mm

รายละเอียดสินค้า

Jaw Coupling JM30C คัปปลิ่งประกบเพลา สำหรับเครื่อง CNC เครื่อง3D print และใช้ส่งกำลังเพลา ขนาด 6มม ถึง 14 มม. เป็นตัวเชื่อระหว่างของ 2 สิ่ง ให้ทำงานไปพร้อมกันตามตัวส่งกำลัง เช่น การใช้ COUPLING ต่อระหว่าง MOTOR และ GEAR Coupling คัปปลิ้ง หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า ประกับเพลา หรือ ยอย (Drive Coupling) ซึ่งหน้าที่หลัก ๆ คือ เป็นอุปกรณ์สำหรับ เครื่องต่อ, เครื่องสำหรับต่อรถพ่วง, ปลอกหรือจานต่อเพลา Couplings คำจำกัดความ Couplings คือ ทำหน้าที่ยึดเพลาสองเพลาให้เข้าด้วยกัน ลักษณะการส่งถ่ายแรงบิดที่มีการเยื้องศูนย์ของเพลา (Shaft Misalignment) จะสร้างความเสียหายอย่างมากต่ออุปกรณ์ต่างๆ ของระบบส่งกำลังเช่น ลูกปืน โดยการตั้งศูนย์เพลาที่ดีจะสามารถยืดอายุการใช้งานของตลับลูกปืนได้ 2-3 เท่า โดยการตั้งศูนย์ที่ดีนั้นจำเป็นต้องใช้เวลานาน และมีปัจจัยอื่นที่มีผลกระทบต่อการใช้งานในช่วงอุณหภูมิ ทำให้มีการยึดหรือหดตัวของวัสดุ และการยุบตัวของพื้นที่ที่ทำการติดตั้งอุปกรณ์ ในความเป็นจริงของการส่งกำลังทางกล ไม่สามารถหลีกเลี่ยงสภาวะการทำงานที่อยู่ภายใต้การเยื้องศูนย์ของแกนเพลาได้ ด้วยปัจจัยหลายประการ (จากการผลิต, การประกอบ และสภาพแวดล้อม) จึงมีการเลือกใช้งาน Couplings ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งาน และระดับการยอมรับการเยื้องศูนย์ หน้าที่หลัก (Coupling) ส่งผ่านแรงบิดจากเพลาต้นกำลังสู่เพลาเครื่องจักร รองรับการทำงานภายใต้ภาวะเยื้องศูนย์ และชดเชยระยะการเคลื่อนตัวระหว่างปลายเพลา ประเภทของประกับเพลาตามลักษณะโครงสร้างของมันดังนี้ 1. แบบ Elastomer หมายถึงประกับเพลาที่มีส่วนยืดหยุ่น ทำด้วยยางหรือยางสังเคราะห์ เช่น ประกับเพลาประเภท jaw couplings หรือ spider couplings, rubber block couplings, pin & bush couplings, rubber-in-shear couplings, rubber-in-compression couplings, nylon sleeve gear couplings เป็นต้น 2. แบบ Non-lubricated, metallic หมายถึงประกับเพลาที่เป็นส่วนยืดหยุ่น ทำด้วยโลหะ และไม่ต้องการสารหล่อลื่น เช่น disc couplings, diaphragm couplings, metal bellow couplings 3. แบบ Lubricated หมายถึงประกับเพลาที่เป็นโลหะและต้องใช้สารหล่อลื่น เช่น gear couplings, chain couplings, grid couplings 4.แบบซึ่งทำขึ้นมาเพื่อจุดประสงค์เฉพาะ เช่น fluid couplings หรือ hydraulic couplings ซึ่งใช้ในการช่วยการออกตัวอย่างนิ่มนวล rigid couplings ใช้เมื่อต้องการต่อเพลาเข้าด้วยกันโดยไม่ให้มีความยืดหยุ่น universal joints ใช้สำหรับงานที่มีการเยื้องศูนย์มากๆ หรือเมื่อการเยื้องศูนย์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา clutch couplings สำหรับงานที่มีการตัดต่อการส่งกำลังเป็นจังหวะ torque limiter couplings ทำหน้าที่ตัดการส่งกำลังเมื่อแรงบิดเกินพิกัดเพื่อป้องกันความเสียหาย brake drum couplings เป็นส่วนหนึ่งของระบบเบรค winch couplings (wire drum coupling) ใช้ในการส่งกำลังไปยังล้อสลิง

จากร้านเดียวกัน

รายการที่เกี่ยวข้อง

คุณอาจชอบ